จากการศึกษาโครงสร้างของระบบพบว่ามีโครงสร้างฐานข้อมูลที่ซ้ำกันอยู่ 3
Table คือ
Table user ของระบบการขาย
Table User_stockของระบบการคลัง
Table user_1 ของระบบการผลิต
การปรับระบบเข้าหากันจึงใช้วิธีการ
ปรับ Table
ทั้ง 3 Table เป็น Table ที่มีความละเอียดและตรงตามการใช้งานของระบบ
โครงสร้าง ของตาราง User
ของแต่ละระบบ มีรายละเอียดดังนี้
เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ได้ดังนี้
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล User ใหม่
เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล User ใหม่
ระบบจะต้องมีการอัพเดตข้อมูลไปยัง ตาราง User_stock ของระบบคลัง
ตาราง
User ของ ระบบการขาย ตาราง User_1 ของ ระบบการผลิต
การอ้างอิงข้อมูลจากตารางหนึ่งมาใช้กับอีกตารางหนึ่ง
พบว่ามี ตาราง Order
ช้า กัน 2 ตาราง คือ 1.ตาราง Oder ของระบบการผลิต
2.ตาราง Order 2รายการคลัง
โครงสร้าง ของตาราง Order
ของแต่ละระบบ มีรายละเอียดดังนี้
เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ทั้ง 2 ตาราง
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล
Orderใหม่ จากระบบการผลิต ก็จะเพิ่มข้อมูลไปที่ Order ของระบบการคลังด้วย
จากการศึกษาระบบการทำงานพบว่า Table
Acc_order ของระบบการขาย จะต้องอ้างอิงข้อมูลจาก
Table producr ของระบบการคลัง
มาทำการคำนวณเพื่อตรวจสอบจำนวนสินค้าที่มีอยู่ในคลังสินค้าทั้งหมด
โครงสร้าง Table Acc_order และ Table producr มีดังนี้
ระบบการขายจะต้องอาศัยข้อมูลการสินค้าจากระบบการคลังเพื่อตรวจสอบสินค้าที่มีอยู่ภายในบริษัท
โดยการอาศัยการอ้างอิงข้อมูลจาก primary key
ซึ่ง Table
Acc_order ระบบการขาย จะนำ P_id ที่เป็น primary
key ของ Table producr มาเป็น
คีย์รองให้กับ Table Acc_order แล้วดึงข้อมูล p_unit มาตรวจสอบจำนวนสินค้า
แนวทางการต่อยอดหรือพัฒนาต่อในอนาคต
- เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้งานเพื่อหาข้อผิดพลาด
- ลดกระบวนการทำงานหรือส่วนที่ไม่จำเป็น
เพี่อให้ระบบทำงานได้รวดเร็วขึ้น
- พัฒนาต่อยอดอย่างสม่ำเสมอจะทำให้ระบบทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่ายในการสร้างระบบใหม่อีกครั้ง
-
มีการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบเพื่อลดการสูญหายของข้อมูล
- นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบ
- อบรมให้ความรู้แก่พนักงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น